แบบสำรวจเพื่อเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่
(โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ)
แบบสำรวจชุดที่ 4 สำหรับโรงเรียน
จังหวัด : ปทุมธานี อำเภอ : คลองหลวง ตำบล : คลองหก
- ที่อยู่
- ม.9
- จำนวนครู
- ไม่ได้ระบุ
- จำนวนนักเรียน
- ไม่ได้ระบุ
- ระดับ (เลือกได้หลายระดับ)
- ไม่ได้ระบุ
- ชื่อผู้ติดต่อ
- เบอร์โทรศัพท์
- ความต้องการการสนับสนุน
- ไม่ได้ระบุ
- ความต้องการการสนับสนุน (อื่นๆ)
- ไม่ได้ระบุ
# | แนวปฏิบัติ | มี | ไม่มี |
---|---|---|---|
1 | มีมาตรการคัดกรองวัดไข้ ให้กับนักเรียน ครู และผู้เข้ามาติดต่อ ทุกคนก่อนเข้าสถานศึกษา หรือไม่ | ✔ | |
2 | มีมาตรการสังเกตอาการเสียงโควิด 19 เช่น ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รู้รส พร้อมบันทึกผล สำหรับนักเรียน ครู และผู้เข้ามาติดต่อ ทุกคน ก่อนเข้าสถานศึกษาหรือไม่ | ✔ | |
3 | มีนโยบายกำหนดให้นักเรียน ครู และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย หรือไม่ | ✔ | |
4 | มีการจัดเตรียมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย สำรองไว้ให้กับนักเรียนร้องขอ หรือผู้ที่ไม่มีหน้ากากเข้ามาในสถานศึกษา หรือไม่ | ✔ | |
5 | มีจุดล้างมือด้วยสบู่ อย่างเพียงพอ หรือไม่ | ✔ | |
6 | มีการจัดวางเจลแอลกอฮอล์สำหรับใช้ทำความสะอาดมือบริเวณทางเข้าอาคารเรียน หน้าประตูห้องเรียน ทางเข้าโรงอาหาร อย่างเพียงพอหรือไม่ | ✔ | |
7 | มีการจัดโต๊ะเรียน เก้าอี้นักเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร ที่นั่งพัก โดยจัดเว้นระยะห่างระหว่างกัน อย่างน้อย 1-2 เมตร (ยึดหลัก social distancing) หรือไม่ | ✔ | |
8 | มีการทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจนในการจัดเว้นระยะห่างระหว่างกันหรือไม่ | ✔ | |
9 | กรณีห้องเรียนไม่สามารถจัดเว้นระยะห่างตามที่กำหนดได้ มีการสลับวันเรียนของแต่ละชั้นเรียนหรือการแบ่งจำนวนนักเรียน หรือไม่ | ✔ | |
10 | มีการทำความสะอาดห้องเรียน ห้องต่างๆ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียน การสอน ก่อนและหลังใช้งานทุกครั้ง เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี อุปกรณ์กีฬา หรือไม่ | ✔ | |
11 | มีการทำความสะอาดบริเวณจุดสัมผัสเสี่ยงร่วมกัน ทุกวัน เช่นโต๊ะ เก้าอี้ ราว บันได ลิฟต์ กลอนประตู มือจับประตู - หน้าต่าง หรือไม่ | ✔ | |
12 | มีถังขยะแบบมีฝาปิดในห้องเรียนหรือไม่ | ✔ | |
13 | มีการปรับปรุงซ่อมแซมประตู หน้าต่าง และพัดลมของห้องเรียน ให้มีสภาพการใช้งานได้ดี สำหรับใช้ปิด- เปิด ให้อากาศถ่ายเทสะดวก หรือไม่ | ✔ | |
14 | มีการแบ่งกลุ่มย่อยนักเรียนในห้องเรียนในการทำกิจกรรม หรือไม่ | ✔ | |
15 | มีการปรับลดเวลาในการทำกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ภายหลังการเข้าแถวเคารพธงชาติหน้าเสาธง หรือไม่ | ✔ | |
16 | มีการจัดเหลื่อมเวลาทำกิจกรรมนักเรียน เหลื่อมเวลากินอาหารกลางวัน หรือไม่ | ✔ | |
17 | มีมาตรการให้เว้นระยะห่างการเข้าแถวทำกิจกรรม หรือไม่ | ✔ | |
18 | มีการกำหนดให้ใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น เช่น แก้วน้ำ ช้อน ส้อม แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหน้าหรือไม่ | ✔ | |
19 | มีห้องพยาบาลหรือพื้นที่สำหรับแยกผู้มีอาการเสี่ยงทางระบบทางเดินหายใจหรือไม่ | ✔ | |
20 | มีนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพ จิตอาสา เป็นอาสาสมัคร ในการช่วยดูแล สุขภาพเพื่อนนักเรียนด้วยกันหรือดูแลรุ่นน้องหรือไม่ | ✔ | |
21 | มีการติดป้ายประชาสัมพันธ์แนะนำการปฏิบัติเพื่อ สุขอนามัยที่ดี เช่น วิธีล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เป็นต้น หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวกับโรคโควิด หรือไม่ | ✔ | |
22 | การการตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอนโดยการคำนึงถึงการเรียนรู้ตามวัยและสอกคล้องกับการพัฒนาการด้านสังคม อารมณ์ และสติปัญญาหรือไม่ | ✔ | |
23 | มีมาตรการกำหนดระยะเวลาในการใช้สื่อออนไลส์ในสถานศึกษาในเด็กเล็ก (ประถม) ไม่เกิน 1 ชั่วโมงต่อวัน และ ในเด็กโต (มัธยม) ไม่เกิน 2 ชั่วโมงต่อวัน หรือไม่ | ✔ | |
24 | มีการใช้สื่อรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านช่องทาง Social media เช่น Website Facebook Line QR Code และ E-nail หรือไม่ | ✔ | |
25 | มีการเตรียมหน้ากากผ้า สำรองสำหรับเด็กเล็ก หรือไม่ | ✔ | |
26 | มีการปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทการเข้าถึงการเรียนรู้ในสถานการณ์การระบาดของโรค โควิด 19 หรือไม่ | ✔ | |
27 | มีมาตรการส่งเสริมให้นักเรียนได้รับบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง หรือไม่ | ✔ | |
28 | มีมาตรการทำความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมของที่พักและเรือนนอนให้ถูกสุขลักษณะ พร้อมมีตารางเวรทุกวัน หรือไม่ | ✔ | |
29 | มีมาตรการทำความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับข้อบัญญัติการปฏิบัติด้านศาสนกิจ พร้อมมีตารางเวรทุกวัน หรือไม่ (กรณีมีสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจ) | ✔ | |
30 | มีมาตรการดูแลนักเรียนที่มีความบกพร่องด้านการพัฒนาการ การเรียนรู้ หรือด้านพฤติกรรมอารมณ์ รวมถึงภาวะสมาธิสั้น และเด็กออทิสติก ที่สามารถ เรียนร่วมกับเด็กปกติ หรือไม่ | ✔ | |
31 | มีการจัดเตรียมแผนรองรับการจัดการการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนป่วย กักตัว หรือกรณี ปิดโรงเรียน หรือไม่ | ✔ | |
32 | มีการจัดเตรียมแนวปฏิบัติการสื่อสารเพื่อลดการรังเกียจและการตรีตราทางสังคม (Social stigma) หรือไม่ | ✔ | |
33 | มีการจัดเตรียมแนวปฏิบัติด้านการจัดการความเครียดของครูและบุคลากรของสถานศึกษา หรือไม่ | ✔ | |
34 | มีการตรวจสอบประวัติเสื่ยงของนักเรียนและบุคลากร รวมทั้งตรวจสอบเรื่องการกักตัวให้ครบ 14 วัน ก่อนมาทำการเรียนการสอนปกติ และทุกวันเปิดเรียน หรือไม่ | ✔ | |
35 | มีการกำหนดแนวทางปฏิบัติตามระเบียบสำหรับนักเรียน ครู และ บุคลากรที่สงสัยติดเชื้อหรือป่วยด้วยโรคโควิด 19 โดยไม่ถือเป็นวันลาหรือวันหยุดเรียน หรือไม่ | ✔ | |
36 | มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ความรู้การป้องกันโรคโควิด 19 แก่นักเรียน ครู บุคลากร และผู้ปกครอง โดยการประชุมชี้แจงหรือผ่านช่องทางต่างๆ อย่างน้อย 1 ครั้ง ก่อนหรือวันแรกของการเปิดเรียน หรือไม่ | ✔ | |
37 | มีนโยบายและแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ของสถานศึกษา อย่างเป็นลายลักษณ์อักษรหรือมีหลักฐานชัดเจน หรือไม่ | ✔ | |
38 | มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาหรือไม่ | ✔ | |
39 | มีการแต่งตั้งคณะทำงานป้องกันการเผยแพร่ระบาดโรคโควิด 19 และกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน หรือไม่ | ✔ | |
40 | มีมาตรการการจัดการความสะอาดบนรถรับ -ส่งนักเรียน เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล จัดที่นั่งบนรถหรือมีสัญลักษณ์จุดตำแหน่งชัดเจน หรือไม่ (กรณีมีรถรับ ส่งนักเรียน) | ✔ | |
41 | มีแผนการใช้งบประมาณในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตามความจำเป็นและเหมาะสม หรือไม่ | ✔ | |
42 | มีการจัดหาซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกันโรคโควิด 19 สำหรับนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา เช่น หน้ากากผ้าหรือหน้ากาก อนามัย เจลแอลกอฮอล์ สบู่ หรือไม่ | ✔ | |
43 | มีการประสานแสวงหาแหล่งทุนสนับสนุนจากหน่วยงาน องค์กร หรือเอกชน เช่น ท้องถิ่น บริษัทห้างร้าน NGO เป็นต้น เพื่อดำเนินกิจกรรม การป้องกันการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 หรือไม่ | ✔ | |
44 | มีการจัดหาบุคลากรเพิ่มเติมในการดูแลนักเรียนและการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา หรือไม่ | ✔ |